top of page

การคิดเชิงนามธรรม (Abstraction)

     การคิดเชิงนามธรรม คือ กระบวนการคัดแยกคุณลักษณะที่สำคัญออกจากรายละเอียดในโจทย์ปัญหา หรือในงานที่สนใจ เพื่อให้ได้องค์ประกอบที่จำเป็น เพียงพอต่อการพิจารณาภายใต้สถานการณ์ที่สนใจ

5.png

เช่น การใช้การคิดเชิงนามธณรมในการออกแบบ แบบจำลองระบบรอก

1.jpg
2.png
4.jpg

จากภาพข้างต้นมีข้อมูลเพียงพอในการใช้วิเคราะห์การทำงานของระบบรอก และตัดรายละเอียดที่ไม่จำเป็นในการพิจารณาออกทั้งหมด เรียกภาพหรือแผนภาพต่างๆ ที่เป็นผลลัพธ์ของการคิดเชิงนามธรรมว่า “แบบจำลอง (Model)”

      การคิดเชิงนามธรรมเป็นเครื่องมือที่ทำให้นักเรียนสามารถจัดการกับแนวคิดหรือปัญหาที่ซับซ้อนด้วยการเลือกเฉพาะสิ่งที่สำคัญและลดรายละเอียดที่ไม่จำเป็นทิ้งไป เมื่อตัดรายละเอียดที่ไม่จำเป็นออกไปแล้ว จะสังเกตได้ว่าแบบจำลองที่ได้นั้น สามารถนำมาประยุกต์ใช้ความรู้และวิธีการแก้ปัญหาในสถานณ์ต่างๆ ได้

ตัวอย่างแบบจำลองในชีวิตประจำวัน

6.png

วงจรไฟฟ้า

7.png

Animal Cell

8.png

แผนผังอาคารภายในโรงเรียน

กิจกรรมการเรียนการสอน

กิจกรรมที่1 : รูปร่างและรูปทรงที่ซ่อนอยู่
กิจกรรมที่2 : แบบจำลองในชีวิตประจำวัน
ใบภารกิจ : ของวิเศษของโดราเอม่อน

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

Download เอกสารประกอบการเรียนรู้

อ้างอิง

 • สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, “เทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ)”, โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561 หน้า 19 ถึง 22

• จีระพงษ์ โพพันธุ์, “การคิดเชิงนามธรรม (Abstraction)”,

https://www.krui3.com/content/abstract-thinking/, สืบค้นวันที่ 24 ก.ค. 62

cpu.png

1.5 การคิดเชิงนามธรรม (Abstraction)

bottom of page